ผศ.ดร.อังคณา ใสเกื้อ

ชื่อ - นามสกุล

  • ตำแหน่ง : อาจารย์

  • ตำแหน่งทางวิชาการ : ผูู้ช่วยศาสตราจารย์

  • สังกัดคณะ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  • หลักสูตร : ชีววิทยาประยุกต์

  • เบอร์โทร : 086-5663959

  • อีเมล์ : angkana.s@rmusv.ac.th

Angkana Saikeur

  • Present Position : Lecturer

  • Academic Ranks : Ass. Prof

  • Faculty : Science and Technology

  • Course : Apply Biology

  • Tel : 086-5663959

  • E-mail : angkana.s@rmusv.ac.th

การศึกษา : Education

  • ปร.ด (เทคโนโลยีชีวภาพ) ม.วลัยลักษณ์

  • วท.ม (จุลชีววิทยา) ม.สงขลานครินทร์

  • วท.บ (ชีววิทยา) ม.ทักษิณ

สาขาที่เชี่ยวชาญ : Experience

  • จุลชีววิทยาทางการเกษตร

  • จุลชีววิทยาอาหาร

  • เทคโนโลยีชีวภาพ

  • สารสกัดเพื่อผลิตเวชสำอาง

ประสบการณ์การสอน : Teaching Experience

  • วิชาชีววิทยาพื้นฐาน

  • วิชาจุลชีววิทยาทั่วไป

  • วิชาจุลชีววิทยาเพื่อการเกษตร

  • วิชาจุลชีววิทยาอาหาร

  • วิชาระเบียบวิธีวิจัยทางชีววิทยา

งานวิจัยที่สนใจ : Search Interests

  • สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์

  • เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

  • การออกแบบพื้นผิวการตอบสนอง

  • นวัตกรรมทางการเกษตร

ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation

  • Angkana SAIKEUR, Wanna CHOORIT, Poonsuk PRASERTSAN, Duangporn KANTACHOTE & Ken SASAKI. Influence of precursors and inhibitor on the production of extracellular 5-aminolevulinic acid and biomass by Rhodopseudomonas palustris KG31. Bioscience. Biotechnol. 2009. Biochem. 73(5): 987-992.

  • Wanna Choorit, Angkana Saikeur, Pichit Chodok, Poonsook Prasertsan and Duangporn Kantachote. Production of Biomass and Extracellular 5-aminolevulinic acid by Rhodopseudomonas palustris KG31 under light and dark conditions using volatile fatty acid. 2011. Journal of Bioscience and Bioengineering. 111 (6): 658-664.

  • อังคณา ใสเกื้อ. การแยกและการคัดเลือกเชื้อราไตรโคเดอร์มาจากดินขุยไผ่ บริเวณอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง จ.นครศรีธรรมราช ที่มีศักยภาพในการยับยั้งเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler) Butler. 2013. Science and Technology RMURR Journal. 3(2): 1-3.

  • อังคณา ใสเกื้อ. การคัดแยกแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนกรดชอบกรด จากเขตดินเปรี้ยว ในจังหวัดนครศรีธรรมราชและส่งเสริมการผลิตชีวมวลและกรด 5-อะมิโนลีวูลินิก โดยเทคนิค Plackett-Burmann. 2013. Science and Technology RMURR Journal. 3(2): 75-89.

  • Angkana Saikeur. Optimization of 5-aminolevulinic acid, red rice mold from Monascus sp. and biomass of photosynthetic bacteria supplements on egg quality in laying hens. The 5th Rajamangala University of Technology International Conference ระหว่าง วันที่ 23-25 กรกฎาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา จ.พระนครศรีอยุธยา

  • จตุพล มีสวัสดิ์ วิรุฬศักดิ์ ทองสุภา และ อังคณา ใสเกื้อ. ผลของกรด 5-อะมิโนลีวูลินิก ที่ผลิตจากแบคทีเรียังเคราะห์แสง Rhodopseudomonas palustris JP255 ต่อความยาวรากของข้าวพันธุ์เล็บนกในระยะก่อนปักดำ. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 ระหว่าง วันที่ 23-25 กรกฎาคม 2557 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา จ.พระนครศรีอยุธยา

  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 14010 เรื่องชีวภัณฑ์กรด 5-อะมิโนลีวูลินิกและกรรมวิธีการผลิต ออกให้วันที่ 6 มิถุนายน 2561 หมดอายุ 26 กุมภาพันธ์ 2565

  • Wiroonsak Thongsupa, Angkana Saikeur and Naraid Suanyuk. Dietary administration of 5-aminolevulinic acid enhanced growth performance and immune responses of hybrid striped catfish (Pangasianodon gigas x Pangasianodon hypophthalmus). The 11th IMT-GT UNINET Conference 2018- Bioscience for A Sustainable Future. 11-12 December, 2018. Penang, Malaysia.

  • Usa Kritsadaruangchai, Phanuphong Chaiwut, Putarak Chomnunti, Narit Thaochan, Angkana Saikeur and Punyawatt Pintathong. Effect of solid state fermentation with Trichoderma spp. on phenolic content and antioxidant capacities of mature Assam tea leaves. Technology of Food Science and Agricultural Technology. 2019. 5 (Spcl. Iss.). 106-113.

  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 14010 เรื่องชีวภัณฑ์กรด 5-อะมิโนลีวูลินิกและกรรมวิธีการผลิต ออกให้วันที่ 6 มิถุนายน 2561 หมดอายุ 26 กุมภาพันธ์ 2565

ตำรา หนังสือ : Text book

  • เอกสารประกอบการสอนรายวิชาชีววิทยาทั่วไป

  • เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจุลชีววิทยาเพื่อการเกษตร

ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience

  • หัวหน้าแผนกวิจัยและพัฒนาวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2554-2558

  • ประธานหลักสูตรชีววิทยาประยุกต์ 2560 ถีงปัจจุบัน

  • นำนวัตกรรมชีวภัณฑ์กรด 5-อะมิโนลีวูลินิกงาน เข้าร่วมประกวดในงาน “2016 Kaosiung International Invention and Design Expo” (KIDE 2016) ณ เมืองเกาสง ประเทศไต้หวัน 9-11 ธ.ค. 2559 ได้รับรางวัลเหรียญทอง และถ้วยรางวัล The top of Agriculture

Photo Album

อาหารปลาสวยงาม

สารแอสตาแซนทีนเอนแคปซูเลชั่น

ชีวภัณฑ์ 5-ALA เร่งสีว่านสี่ทิศ

เซลล์แห้ง PSB สำหรับสกัดสารสีแอสตาแซนทีน